เอชไอวี

ยกระดับ การตรวจเอชไอวี ด้วยการร่วมมือระหว่างสองแพลตฟอร์ม

By teamsti

ในวันที่ 15 มีนาคม 2567 มูลนิธิเพื่อรักและมูลนิธิแอ็พคอม สององค์กรชั้นนำด้านแพลตฟอร์มจองตรวจเอชไอวี ได้ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MoU) เพื่อ ยกระดับ การเข้าถึงบริการสุขภาพและข้อมูลด้านสุขภาพสำหรับชุมชน LGBTQI+ และกลุ่มประชากรสำคัญอื่นๆ ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล

Read more
การรักษาด้วยยาต้านไวรัส ART

การรักษาด้วยยาต้านไวรัส ART

การรักษาด้วยยาต้านไวรัส ART (Antiretroviral Therapy หรือ ART) เป็นหนึ่งในกลยุทธ์หลักในการควบคุมและบรรเทาโรคเอดส์ โรคเอดส์เกิดจากไวรัส HIV (Human Immunodeficiency Virus) ซึ่งเป็นไวรัสที่ทำลายระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย เมื่อระบบภูมิคุ้มกันถูกทำลาย ร่างกายจะเสียความสามารถในการต่อต้านการติดเชื้ออื่นๆ ทำให้เกิดโรคต่างๆ ได้ง่ายขึ้น การรักษาด้วยยาต้านไวรัส ART มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อไวรัส HIV ในร่างกาย และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานได้ดีขึ้น

Read more
ข้อควรรู้ก่อนใช้ยาเป๊ป (PEP)

ข้อควรรู้ก่อนใช้ยาเป๊ป (PEP) เพื่อความปลอดภัย และประสิทธิภาพสูงสุด

ยาเป๊ป (PEP ย่อมาจาก post-exposure prophylaxis)  คือ ยาต้านไวรัสฉุกเฉิน สำหรับผู้ที่เพิ่งสัมผัสเชื้อ ไม่เกิน 72 ชั่วโมง หรือ สำหรับผู้ไม่ติดเชื้อที่บังเอิญหรือมีความจำเป็น หรือไม่ตั้งใจแต่ไปสัมผัสเชื้อเอชไอวี มาแล้ว โดยต้องกินยาต้านให้เร็วที่สุดหลังสัมผัสเชื้อ เพราะการติดเชื้อเอชไอวีจะเกิดอยู่เฉพาะที่ในตอนแรก โดยการติดเชื้อทั่วร่างกายจะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 1-3 วันหลังการสัมผัส ซึ่งต้องกินยาเป็นเวลา 28 วัน ทำให้มีโอกาสที่เชื้อจะไม่กระจายสู่ร่างกายได้

Read more
ตรวจเอชไอวีหลังเสี่ยงกี่วัน ตรวจแบบไหนดี

ตรวจเอชไอวีหลังเสี่ยงกี่วัน ตรวจแบบไหนดี?

เชื้อไวรัสเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus หรือ HIV) เป็นไวรัสที่สามารถนำไปสู่โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือโรคเอดส์ได้ ซึ่งเป็นภาวะที่ระบบภูมิคุ้มกันร่างกายได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง จากการที่ เชื้อเอชไอวี มันจะทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว CD4 ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการป้องกันโรคต่าง ๆ ผลลัพธ์ คือ การบกพร่องของระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้ร่างกายอ่อนแอ และเสี่ยงต่อการติดเชื้ออื่นๆ และมะเร็งหลายชนิด

Read more
การติดเชื้อฉวยโอกาส Opportunistic infectionการติดเชื้อฉวยโอกาส Opportunistic infection

การติดเชื้อฉวยโอกาส | Opportunistic infection

การติดเชื้อฉวยโอกาส เป็นภัยคุกคามที่สำคัญต่อบุคคลที่มีระบบภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เช่น ผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด หรือผู้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ การติดเชื้อเหล่านี้ใช้ประโยชน์จากภูมิคุ้มกันอ่อนแอเพื่อทำให้เกิดอาการเจ็บป่วยร้ายแรงต่อสุขภาพ การทำความเข้าใจว่าการติดเชื้อฉวยโอกาสคืออะไร สาเหตุ และวิธีป้องกันเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง ในการจัดการสุขภาพโดยรวม การติดเชื้อฉวยโอกาสคืออะไร? เชื้อฉวยโอกาส (Opportunistic infection) โรคติดเชื้อที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในการต่อสู้กับเชื้อโรคต่างๆ เชื้อฉวยโอกาสเหล่านี้อาจอยู่ในร่างกายของคนปกติโดยไม่ก่อให้เกิดโรคใดๆ แต่เมื่อระบบภูมิคุ้มกันบกพร่องลง เชื้อเหล่านี้ก็สามารถเจริญเติบโตและก่อโรคได้ การติดเชื้อฉวยโอกาสสาเหตุเกิดจากอะไร? สาเหตุของการติดเชื้อฉวยโอกาส คือ ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ...

Read more
โรคเอดส์ ระยะสุดท้ายของการติดเชื้อ HIV

โรคเอดส์ | ระยะสุดท้ายของการติดเชื้อ HIV

โรคเอดส์ (Acquired Immunodeficiency Syndrome: AIDS) คือ โรคที่ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่องจากการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งเป็นระยะสุดท้ายของการติดเชื้อ โดยไวรัสเอชไอวีจะเข้าไปทำลายเม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งที่เรียกว่า CD4 ส่งผลให้ภูมิคุ้มกันโรคของร่างกายลดต่ำลง ทำให้มีโอกาสเกิดการติดเชื้อโรคฉวยโอกาสต่าง ๆ เช่น  โรคเอดส์ติดต่อทางไหนบ้าง ? โรคเอดส์สาเหตุเกิดจากอะไร ? โรคเอดส์ (Immune deficiency syndrome: AIDS) เกิดจากการติดเชื้อเอชไอวี (Human immunodeficiency ...

Read more
ภาวะซึมเศร้า ในผู้ติดเชื้อ HIV

ภาวะซึมเศร้า ในผู้ติดเชื้อ HIV

HIV และภาวะซึมเศร้าเกี่ยวข้องกัน โดยผู้ติดเชื้อ HIVมีความเสี่ยงสูงต่อการพัฒนาภาวะซึมเศร้า ในบทความนี้เราจะสำรวจความสัมพันธ์ระหว่าง HIV และภาวะซึมเศร้า รวมถึงสาเหตุ อาการและตัวเลือกการรักษาที่มีให้เลือกใช้

Read more
U = U ตรวจไม่เจอเท่ากับไม่แพร่เชื้อ

U = U ตรวจไม่เจอเท่ากับไม่แพร่เชื้อ

ไวรัสเอชไอวี เมื่อเข้าสู่ร่างกาย ไวรัสจะเข้าทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาวซึ่งทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอม หรือเชื้อโรคต่าง ๆ ที่เข้ามาสู่ร่างกาย จึงทำให้ผู้ป่วยมีระบบภูมิคุ้มกันที่ต่ำลงจนในที่สุด ร่างกายของผู้ป่วย ไม่สามารถต่อสู้กับเชื้อโรคต่าง ๆ ที่เข้าไปสู่ร่างกายได้ โดยส่วนมากผู้ป่วยจะมีปริมาณของไวรัส ในเลือดมากกว่า 200-1,000 coppies / ซีซีของเลือด แต่เมื่อได้เข้ารับการรักษา ทำให้มีปริมาณของเชื้อไวรัส ในเลือดต่ำกว่า 50 coppies / ซีซีของเลือด โดยทั่ว ...

Read more
ออรัลเซ็กส์ ติดเชื้อ HIV ได้จริงหรือ!

ออรัลเซ็กส์ ติดเชื้อ HIV ได้จริงหรือ!?

ออรัลเซ็กส์ หรือการทำรักทางปาก เป็นหนึ่งในกิจกรรมทางเพศสัมพันธ์ ที่ช่วยสร้างอารมณ์ให้กับคู่รักทุกคู่ได้เป็นอย่างดี แต่การทำออรัลเซ็กส์ที่ไม่ถูกต้องอาจนำมาซึ่งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ด้วย และหลายคนหลีกเลี่ยงการสอดใส่ทางช่องคลอดหรือทวารหนัก เพราะว่ากลัวจะติดเชื้อ HIV แต่หารู้ไม่ว่า หากคุณมีแผลในช่องปาก ก็สามารถเสี่ยงติดเชื้อได้เช่นกัน ออรัลเซ็กส์ (Oral Sex) คืออะไร การทำรักทางปาก (ออรัลเซ็กส์) คือการใช้ช่องปาก ลิ้น ริมฝีปาก กระตุ้นที่บริเวณอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือบริเวณรอบๆ อวัยวะเพศ ทั้งชายและหญิง ...

Read more
สายพันธุ์ของเชื้อไวรัสเอชไอวี

สายพันธุ์ของเชื้อไวรัสเอชไอวี

เชื้อไวรัสเอชไอวี  จัดเป็นไวรัสชนิด RNA ใน subfamily Lentivirinae มีเอนไซม์ที่เป็นลักษณะสำคัญ คือ เอนไซม์รีเวอร์สทรานสคริพเตส (Reverse transcriptase, RT)  สายพันธุ์ของเชื้อไวรัสเอชไอวี สายพันธุ์ของเชื้อไวรัสเอชไอวี เป็นเชื้อที่สามารถกลายพันธุ์(Mutatuion)ได้รวดเร็ว ในร่างกายของผู้ติดเชื้อคนๆหนึ่งจะพบเชื้อไวรัสเอชไอวีสายพันธุ์ต่างๆ ได้หลายชนิด จึงต้องมีการจัดจำแนกชนิดของเชื้อไวรัสเอชไอวี โดยใช้ข้อมูลรหัสพันธุกรรมที่มีความคล้ายคลึงกันเป็นเกณฑ์ในการคัดกรอง โดยสามารถแบ่งออกเป็น types, groups และ subtypes เชื้อไวรัสเอชไอวีมี ...

Read more